วันพฤหัสบดีที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2553

งานครับ

นายพลวัฒน์ คฤหัสถ์ เลขที่ 28 สสท2/1
สรุป ธรรมดับร้อน
คำว่าร้อนในที่นี้ไม่ได้หมายถึง บรรยากาศ หรือ สิ่งอื่ใด ทั้งนั้นแต่หมายถึง อารมณ์ ความรู้สึก ที่กำลังเดือด โดนแผดเผา จากสิ่งรอบข้าง อย่างเช่น ไฟร้อนที่เกิดขึ้นกับพุทธองค์ใน สมัยพุทธกาล ก่อนและหลังที่พระองค์ได้ตรัสรู้ เป็นพระสัมมาสัมโพธิญาณ พระองค์ได้ผ่านไผร้อนที่รุกไหมมาอย่างมากมาย เช่น
-พญามาร ยกทัพแระกาศก้องที่จะแย่งบัลลังก์ที่พระพุทธเจ้าตรัสรู้
-สาวสวย ได้ประกาศว่าท้องกับพระองค์ให้กับประชาชนได้รับรู้
-การเดิมพันชีวิตกับยักร้าย ซึ่งยักษ์ษาเป็นผู้ยื้นข้อเสนอ
-พญาช้างนาฬาคิรี ตกมันวิ่งเข้าหาพระองค์หวังจะทำร้าย วิ่งด้วยความเร็วดุจศรหลุดจากแล่ง
-องคุลีมาล ฟาดฟันเพื่อหวังจะเอานิ้วให้ครบ 1 พันนิ้ว ฯลฯ
และนอกจากนี้ยังมีอีกมายมาย จากข้างต้นล้วนเป็นเรื่องที่เกิดขึ้นจริงโดยที่ พญามาร ทุกตัวต้องการที่จะขัดขวางพระพุทธเจ้า ไฟร้อนเดือนขนาดนี้พระองค์ยังมียุทธวิถี ดับร้อนผ่านไปได้ด้วยดี ด้วยสติสัมประชันญะ เรื่องร้ายทั้งหลายจึงผ่านไปได้สวย

วิเคาระห์
ลองคิดดูสิครับว่า ทุกวันนี้มีเรื่องร้อนมากมาย เราจะมีวิธีดับร้อนอย่างไร ไปร้อนที่กำลังจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งหลายเราจะทำอย่างไร เราต้องใช้สติปัญญา ที่มีอยู่ ลดความรัก โลก โกรธ หลง ทั้งหลายเหล่านี้ ที่จะทำให้เกิดเรื่องร้อนภายในตัว ภายในใจ ของเรา จะผ่านไปได้ด้วยดีแน่ะนอน

** สิ่งที่กำลังจะเกิด จะดี หรือ ร้าย อยู่ที่ตัวเรา ที่จะกระทำ ลงไป เท่านัน ไม่ได้อยู่
ที่บุคคลอื่น ตัวเราเท่านั้นจะเป็นผู้บงการทุกอย่างที่กำลังจะเกิดขึ้นอยู่ข้างหน้า
จงใช้สติ และ ปัญญาที่มีอยู่ไตร่ตรองให้ดี และทุกอย่างจะตามมาตามความต้องการ

*** และการที่หัดเข้าใจผู้อื่น ไม่ใช่เอาแต่ใจตัวเอง จนทำให้ผู้อื่นรู้สึกเบื่อหน่าย บางครั้ง ทุกคนอาจมีความคิดที่ไม่เหมือนกัน อย่าปิดกลั้น เปิดรับความคิดของบุคคลอื่นบ้าง ในบ้างครั้งความคิดของผู้อื่นอาจดีกว่า ความคิดของเราก็ได้ ถึงแม้ผู้นั้นจะมี ยศ ไม่เท่ากับเรา หรืออายุน้อยกว่า เราก้อตาม ฝากเพื่อน ๆ ทุกคนด้วยน่ะครับ

ขอบคุณครับ สำหรับผู้อื่นทุกคน

วันพุธที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2553

5++++++





วันจันทร์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2553


$date=date("j");
$day=date("D");
$month=date("M");
$year=date("Y");
switch($day)
{
case Sun:$day="อาทิตย์";Break;
case Mon:$day="จันทร์";Break;
case Tue:$day="อังคาร";Break;
case Wed:$day="พุธ";Break;
case Thu:$day="พฤหัสบด์";Break;
case Fri:$day="ศุกร";Break;
case Sat:$day="เสาร์";Break;
}
switch($month)
{
case Jan:$month="มกราคม";Break;
case Feb:$month="กุมภาพันธ";Break;
case Mar:$month="มีนาคม";Break;
case Apr:$month="เมษายน";Break;
case May:$month="พฤษภาคม";Break;
case Jun:$month="มิถุนายน";Break;
case Jul:$month="กรกฎาคม";Break;
case Aug:$month="สิงหาคม";Break;
case Sep:$month="กันยายน";Break;
case Oct:$month="ตุลาคม";Break;
case Nov:$month="พฤศจิกายน";Break;
case Dec:$month="ธันวาคม";Break;
}
echo"

วัน $day ที่ $date เดือน $month พ.ศ. $Year

";
?>

โค้ดวันที่ พร้อมการอัพเดต


$date=date("j");
$day=date("D");
$month=date("M");
$year=date("Y");

switch($day)
{
case Sun:$day="อาทิตย์";Break;
case Mon:$day="จันทร์";Break;
case Tue:$day="อังคาร";Break;
case Wed:$day="พุธ";Break;
case Thu:$day="พฤหัสบด์";Break;
case Fri:$day="ศุกร";Break;
case Sat:$day="เสาร์";Break;
}
switch($month)
{
case Jan:$month="มกราคม";Break;
case Feb:$month="กุมภาพันธ";Break;
case Mar:$month="มีนาคม";Break;
case Apr:$month="เมษายน";Break;
case May:$month="พฤษภาคม";Break;
case Jun:$month="มิถุนายน";Break;
case Jul:$month="กรกฎาคม";Break;
case Aug:$month="สิงหาคม";Break;
case Sep:$month="กันยายน";Break;
case Oct:$month="ตุลาคม";Break;
case Nov:$month="พฤศจิกายน";Break;
case Dec:$month="ธันวาคม";Break;
}
echo"

วัน $day ที่ $date เดือน $month พ.ศ. $Year

";
?>

วันอังคารที่ 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2552

ชนิดข้อมูลใน MySQL

VARCHAR คล้ายกับแบบ CHAR(M) แต่สามารถปรับขนาดตามข้อมูลที่เก็บในฟิลด์ได้ ความกว้างเป็นได้ตั้งแต่ 1 ถึง 255 ตัวอักษร
TINYINT สำหรับเก็บข้อมูลชนิดตัวเลขที่มีขนาด 8 บิต ข้อมูลประเภทนี้เราสามารถกำหนดเพิ่มเติม ในส่วนของ "แอตทริบิวต์" ได้ว่าจะเลือกเป็น UNSIGNED หรือ UNSIGNED ZEROFILL โดยจะมีความแตกต่างดังนี้UNSIGNED : จะหมายถึงเก็บค่าตัวเลขแบบไม่มีเครื่องหมาย แบบนี้จะทำใหสามารถเก็บค่าได้ ตั้งแต่ 0 - 255 UNSIGNED ZEROFILL : เหมือนข้างต้น แต่ว่าหากข้อมูลที่กรอกเข้ามาไม่ครบตามจำนวน หลักที่เรากำหนด ตัว MySQL จะทำการเติม 0 ให้ครบหลักเอง เช่น ถ้ากำหนดให้ใส่ได้ 3 หลัก แล้วทำการเก็บข้อมูล 25 เข้าไป เวลาที่สืบค้นดู เราจะได้ค่าออกมาเป็น 025 หากไม่เลือก "แอ ตทริบิวต์" สิ่งที่เราจะได้ก็คือ SIGNED นั่นก็คือต้องเสียบิตนึงไปเก็บเครื่องหมาย บวก/ลบ ทำ ให้สามารถเก็บข้อมูลได้อยู่ในช่วง -128 ถึง 127 เท่านั้น
TEXT เป็น text ที่ความกว้างเป็นได้สูงสุด 65,535 ตัวอักษร
DATE ขนาดที่เก็บ 3 ไบต์เก็บค่าวันที่ในรูปแบบ YYYY-MM-DDโดยมีค่าตั้งแต่ 1000-01-01 ถึง 9999-12-31
SMALLINT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 16 บิต จึงสามารถเก็บค่าได้ตั้งแต่ -32768 ถึง 32767 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 65535 (ในกรณี UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย)ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ TINYINT
MEDIUMINT สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขที่มีขนาด 24 บิต นั่นก็หมายความว่าสามารถเก็บ ข้อมูลตัวเลขได้ตั้งแต่ -8388608 ไปจนถึง 8388607 (ในกรณีแบบคิดเครื่องหมาย) หรือ 0 ถึง 16777215(ในกรณีที่เป็น UNSIGNED หรือไม่คิดเครื่องหมาย) ซึ่งสามารถเลือก Attribute เป็น UNSIGNED และ UNSIGNED ZEROFILL ได้เช่นเดียวกับ T
INT ขนาดที่เก็บ 4 ไบต์UNSIGNED เก็บค่าจำนวนเต็ม 0 ถึง 4294967295SIGNED เก็บค่าจำนวนเต็ม -2147483648 ถึง 2147483647
BIGINT ขนาดที่เก็บ 8 ไบต์UNSIGNED เก็บค่าจำนวนเต็ม 0 ถึง 18446744073709551615SIGNED เก็บค่าจำนวนเต็ม -9223372036854775808 ถึง 9223372036854775807
FLOAT ขนาดที่เก็บ 4 ไบต์เก็บค่าจำนวนจริงแบบ IEEEตั้งแต่ -3.402823466E+38 ถึง -1.175494351E-38และ 0และ 1.175494351E-38 ถึง 3.402823466E+38 DOUBLE ขนาดที่เก็บ 8 ไบต์เก็บค่าจำนวนจริงแบบ IEEEตั้งแต่ -1.7976931348623157E+308 ถึง -2.2250738585072014E-308และ 0และ 2.2250738585072014E-308 ถึง 1.7976931348623157E+308
DECIMAL สำหรับเก็บข้อมูลประเภทตัวเลขทศนิยม เช่นเดียวกับ FLOAT แต่ใช้กับข้อมูลที่ ต้องการความละเอียดและถูกต้องของข้อมูลสูง ข้อสังเกต เกี่ยวกับข้อมูลประเภท FLOAT, DOUBLE และ DECIMAL ก็คือ เวลากำหนดความ ยาวของข้อมูลในฟิลด์ จะถูกกำหนดอยู่ในรูปแบบ (M,D) ซึ่งหมายความว่า ต้องมีการระบุว่า จะให้มี ตัวเลขส่วนที่เป็นจำนวนเต็มกี่หลัก และมีเลขทศนิยมกี่หลัก เช่น ถ้าเรากำหนดว่า FLOAT(5,2) จะ หมายความว่า เราจะเก็บข้อมูลเป็นตัวเลขจำนวนเต็ม 5 หลัก และทศนิยม 2 หลัก ดังนั้นหากทำการใส่ ข้อมูล 12345.6789 เข้าไป สิ่งที่จะเข้าไปอยู่ในข้อมูลจริงๆ ก็คือ 12345.68 (ปัดเศษให้มีจำนวนหลัก ตามที่กำหนดไว้)
DATETIME ขนาดที่เก็บ 8 ไบต์เก็บค่าวันที่และเวลาในรูปแบบ YYYY-MM-DD HH:mm:SSโดยมีค่าตั้งแต่ 1000-01-01 00:00:00 ถึง 9999-12-31 23:59:59 TIMESTAMP ขนาดที่เก็บ 4 ไบต์เก็บวันที่และเวลาในรูปแบบ String Timestampm = 14 หรือไม่กำหนด -> YYYYMMDDHHmmSSm = 12 -> YYMMDDHHmmSSm = 10 -> YYMMDDHHmmm = 8 -> YYYYMMDDm = 6 -> YYMMDDm = 4 -> YYMMm = 2 -> YYโดยมีค่าตั้งแต่ 1970-01-01 00:00:00 ถึง 2037 TIME ข้อมูลประเภทเวลา สามารถเป็นได้ตั้งแต่ ‘-838:59:59’ ถึง ‘838:59:59’ แสดงผลในรูปแบบ HH:MM:SS YEAR ข้อมูลประเภทปี คศ โดยสามารถเลือกว่าจะใช้แบบ 2 หรือ 4 หลัก ถ้าเป็น 2 หลักจะใช้ได้ตั้งแต่ปี คศ 1901 ถึง 2155ถ้าเป็น 4 หลักจะใช้ได้ตั้งแต่ปี คศ 1970 ถึง 2069
CHAR เป็นข้อมูลสตริงที่จำกัดความกว้าง ไม่สามารถปรับขนาดได้ ขนาดความกว้างเป็นได้ตั้งแต่ 1 ถึง 255 ตัวอักษร
TINYBLOB ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +1 ไบต์ แต่ไม่เกิน 255 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY
TINYTEXT ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +1 ไบต์ แต่ไม่เกิน 255 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY
BLOB ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +2 ไบต์ แต่ไม่เกิน 65535 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY
MEDIUMBLOB ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +3 ไบต์ แต่ไม่เกิน 16777215 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY
MEDIUMTEXTขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +3 ไบต์ แต่ไม่เกิน 16777215 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY
LONGBLOB ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +4 ไบต์ แต่ไม่เกิน 4294967295 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY
LONGTEXT ขนาดที่เก็บตามข้อมูลจริง +4 ไบต์ แต่ไม่เกิน 4294967295 ไบต์เก็บค่าอักษรตามรหัส ASCII หรือข้อมูล BINARY ENUM ขนาดที่เก็บ 1 หรือ 2 ไบต์ ตามจำนวนค่า value ซึ่งกำหนดได้มากที่สุด 65535 ค่าเก็บค่าตาม value ที่กำหนด
SET ขนาดที่เก็บ 1, 2, 3, 4 หรือ 8 ไบต์ ตามจำนวนค่า value ซึ่งกำหนดได้มากที่สุด 64 ค่าเก็บค่าตาม value ที่กำหนด
BOOL เป็นชนิดข้อมูลที่เก็บได้เพียง2ค่าเท่านั้น คือ True กับ false
BINARY ระบบเลขที่มีสัญลักษณ์เพียงสองตัวคือ 0 (ศูนย์) กับ 1 (หนึ่ง) บางครั้งอาจหมายถึงการที่มีโอกาสเลือกได้เพียง 2 ทาง เช่น ปิดกับเปิด, ไม่ใช่กับใช่, เท็จกับจริง, ซ้ายกับขวา เป็นต้น
VARBINARY คือ มีลักษณะการเก็บคล้าย Varcha คือการเก็บข้อมูลตามที่รับมาจริงเท่านั้น มีขนาดสูงสุดมากถึง 8000 ไบต์

วันพฤหัสบดีที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2552

การติดตั้ง AppServ

ดาวน์โหลดโปรแกรม AppServ ก่อนนะคับ จาก htt://kitt.kvc.ac.th แล้วทำการติดตั้งโปรแกรม AppServ ลงบนเครื่องหน้าต่างแรกจะพบกับข้อความต้อนรับ รายละเอียดของโปรแกรม กด Next เข้าสู่ขั้นตอนเงื่อนไขการใช้งานโปรแกรม ให้กด I Agree แล้วกดเลือกเส้นทางการจัดเก็บ แล้วกด Next แล้วเลือก Appserv Package ,Apache HTTP Server ,MySQL Database ,php Hypertext preprecessor ,phpMyAdmin แล้วกด Next ตรงช่อง Server name ให้ใส่ localhost และ ช่อง E-mail ให้ใส่ E-mail แล้วกด Next ใส่ Password และ ยื่นยัน password อีกครั้ง แล้วกด Next แล้วกด Install เพื่อติดตั้ง เป็นเสร็จเรียบร้อยสมบุรณ์
เพื่อเช็คว่าใช้งานได้หรือไม่ ให้เข้าไปที่ Internet Eeplorer แล้วพิมพืคำว่า localhost



*.*

Thai Text Generator
 
phonlawat33@hotmail.com